aquashen.com

พญา พาฬมฤค ราช

ประมล-ยาง-เปอรเซนต

ทาสที่เลี้ยงไว้เมื่อเกิดทุพภิกขภัย คือคนที่ยอมตัวเป็นทาสเพราะเกิดวิกฤตทางธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย ทำให้เกิดข้าวยากหมากแพง ๗. ทาสเชลย หมายถึง ข้าศึกที่ถูกจับมาเป็นทาส

พญาพาฬมฤคราช คือ

  1. พญาพาฬมฤคราช ประกอบด้วยสัตว์ร้ายชนิดใดบ้าง
  2. พญาพาฬมฤคราช
  3. Carry suzuki ราคา
  4. พญาพาฬมฤคราชอันเรืองเดช

1. ข้อใดไม่ได้ใช้โวหารภาพพจน์แบบอุปมาในการพรรณนา ก็น้ำใจของมัทรีนี้กตเวทีเป็นไม้เท้าก้าวเข้าสู่ที่ทางทดแทนอุปมาแม้นเหมือนสีดาอันภักดีต่อสามีรามบัณฑิต มัทรีสัตยาสวามิภักดิ์รักผัวเพียงบิดาก็ว่าได้ ถึงจะยากเย็นเข็ญใจก็ตามกรรม อกของใครจะอาภัพยับพิกลเหมือนอกของมัทรีไม่มีเนตรน่าที่จะสงสารสังเวชโปรปรานี อุตสาหะตระตรากตระตรำเตร็ดเตร่หาผลาผลไม้ถึงที่ไหน จะรกเรี้ยวก็ซอกซอนอุตส่าห์เที่ยวไม่ถอยหลัง จนเนื้อหนังข่วนขาดเป็นริ้วรอย 2. พฤติกรรมที่นำไปสู่ความซาบซึ้งในคุณค่าของวรรณคดีจนก่อให้เกิดความหวงแหนและอยากจะรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ คือพฤติกรรมในข้อใด การวิจารณ์วรรณคดี การพิจารณาวรรณคดี การวิจักษ์วรรณคดี การวิพากษ์วรรรคดี 3. ข้อใดเป็นวิธีตั้งคำถามเพื่อให้ได้ข้อคิดเห็น ระหว่างปิดภาคฤดูร้อนนักเรียนควรใช้เวลาว่างอย่างไร จังหวัดภูเก็ตกับจังหวัดเชียงใหม่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร การเล่นปริศนาคำทายมีประโยชน์แก่การฝึกเชาวน์ปัญญาอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวชนบทอพยพเข้ามาอยู่ในกรุงเทพมหานคร 4. วรรณคดีที่มีรูปแบบเป็นเรื่องเล่าคือข้อใด นิราศภูเขาทอง ไตรภูมิพระร่วง กาพย์เห่เรือ พระอภัยมณี 5. ข้อใดเด่นในด้านการเล่นสัมผัสการซ้ำคำและซ้ำเสียงได้อย่างไพเราะให้อารมณ์สะเทือนใจ เสียงชะนีเหนี่ยวไม้ไห้หาละห้อยโหย พระกำลังนางก็อิดโรยพิไรร่ำร้อง ดะดุ่มเดินเมิลมุ่งละเมาะไม้มองหมอบ แต่ย่างเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง สุดฝีเท้าที่แม่จะเยื้องย่องยกย่างลงเหยียบดินก็สุดสิ้นสุดปัญญาสุดหาสุดค้นเห็นสุดคิด น้ำเอ๋ยเคยมาเปี่ยมขอบเป็นไรจึงขอดข้นลงขุ่นหมองพระพายเอ่ยเคยมาพัดต้องกลีบอุบล 6.

ความซื่อสัตย์ต่อสามี ข. การอนุโมทนาในทานของพระเวสสันดร ค. ความรักลูก ง. ความเมตตาสงสาร ๙. "กเลวระร่าง" หมายถึงข้อใด ก. คนเลว ข. ซากศพ ค. คนเสียสติ ง. คนชั่วร้าย ๑๐. "น้ำเอ๋ยเคยมาเปี่ยมขอบเป็นไรจึ่งขอดข้นลงขุ่นหมอง พระพายเจ้าเอ่ยเคยมาพัดต้องกลีบอุบลพากลิ่นสุคนธ์ขจรรสมา รวยรื่น เป็นไรจึ่งเสื่อมหอมหายชื่นไม่เฉื่อยฉ่ำ" คำประพันธ์ที่ยกมานี้มีน้ำเสียง เป็นอย่างไร ก. ตัดพ้อ ข. บ่นพึมพำ ค. ครํ่าครวญ ง. ออดอ้อน ส่วนล่างของฟอร์ม

ข้อใดมีการใช้คำอัพภาส ก. แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรีสวมอินทรีย์สร่างเคราะห์ ข. ธไคลพลคล่ำคล้าย แลนา ย้ายมาดยรุถยา แลนา คลาทางบ้านสระแก้ว แลนา ค. สาดปืนไฟยะแย้ง แผลงปืนไฟยะยุ่ง พุ่งหอกใหญ่คะคว้าง ขว้างหอกซัดคะไขว่ ไล่คะคลุกบุกบัน ง. ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร เฉลย คำตอบที่ถูก คือ ข้อ ค คำอัพภาส ได้แก่ ยะแย้ง ยะยุ่ง คะคว้าง คะไขว่ คะคลุก ๒. ศิลปะในการประพันธ์ข้อใดใช้อีพภาสเลียนเสียงธรรมชาติ ก. ชะโดดุกกระดี่โดด สลาดโลดยะหยอยหยอย กระเพื่อมน้ำพะพร่ำพรอย กระฉอกฉานกระฉ่อนชล ข. พลหัวหน้าพะกันแกว่งดาบฟันฉะฉาด แกว่งดาบฟาดฉะฉัด ซ้องหอกซัดยะยุ่ง ซ้องหอกพุ่งยะย้าย ค. เกลากลอนใส่ครุคระ มุงจะจะจากปรุโปร่ง แลตะละโล่งลอดฟ้า ง. ทั้งยุงชุมรุมกัดปัดเปรี๊ยะประ เสียงผัวะผะผะพึ่บพั่บปุบปับแปะ คำตอบที่ถูก คือ ข้อ ง คำอัพภาสเลียนเสียงธรรมชาติได้แก่ เปรี๊ยะประ เลียนเสียงตบยุง
พญาพาฬมฤคราชอันเรืองเดช

"ทั้งพญาพาฬมฤคราชเสือโคร่งคระครางครึ้ม…" พญาพาฬมฤคราช เป็นศัพท์แปลสองชั้น พาฬ = ดุร้าย + มฤค = กวาง + ราช = พญา แปลว่า พญากวางร้าย แปลชั้นที่สอง แปลว่า เสือโคร่ง หรือเสือเหลือง ๑๓. "แก้วเก้าเนาวรัตน์แสนสัตตรัตน์เรืองรองซร้องสาธุการอยู่อึงมี่" เนาวรัตน์ หมายถึง แก้วเก้าประการ เพชรน้ำดี มณีแดง เขียวใสแสงมรกต เหลืองใสสด บุษราคัม แดงแก่ก่ำโกเมนเอก สีหมอกเมฆนิลกาฬ มุกดาหารหมอกมัว แดงสลัวเพทาย สังวาลสายไพฑูรย์ สัตตรัตน์ หมายถึงแก้ว 7ประการ คือ สุวรรณ (ทอง), หิรัญ (เงิน), มุกดาหาร, วิเชียร(เพชร), มณี, ไพฑูรย์, ประพาฬ หรืออาจหมายถึง ความเป็นจักรพรรดิ หรือ พระราชาจากการมีของดีเลิศ 7 อย่าง คือ ๑. จักกรัตนะ = จักรแก้ว สามารถนำสมบัติที่พระราชาพึงประสงค์มาถวายได้ ๒. หัตถีรัตนะ = ช้างแก้ว สามารถไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ๓. อัสสรัตนะ = ม้าแก้ว สามารถช่นเดียวกับช้างแก้ว ๔. มณีรัตนะ = แก้วมณี สามารถให้แสงสว่างในที่มืดได้กว้างไกล ๕. อิตถีรัตนะ = นางแก้ว มีรูปร่างไม่ดำไม่ขาว ไม่อ้วนไม่ผอม ไม่เตี้ยไม่สูงจน เกินไป มีหน้าที่บำเรอน้ำพระทัยของพระมหาจักรพรรดิ์ ๖. คหปติรัตนะ = ขุนคลังแก้ว มีสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติอย่างสูง ๗.

พญาพาฬมฤคราชอันเรืองเดช

ปริณายกรัตนะ = สามารถในการรบ การปกครอง อย่างสูง ส่วนรัตนะในชาดก หมายถึง คุณธรรม คุณค่าและความดีที่พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญเมื่อเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ ซึ่งได้แก่การบำเพ็ญบารมีต่าง ๆ นั่นเอง ๑๔. "อันว่าภาคพื้นพระธรณีอันหนาแน่นได้สองแสนสี่หมื่นโยชน์ เสียงอุโฆษครื้นครั่นดั่งไฟบรรลัยกัลป์จะผลาญโลกให้ทำลายวายวินาศ" สองแสนสี่หมื่นโยชน์ เป็นตัวเลข หมายถึงความลึกของแผ่นดิน คนโบราณเชื่อว่า แผ่นดินโลกมีความลึกหรือหนาถึงสองแสนสี่หมื่นโยชน์ ๑๕. "แต่ก่อนโสดค่าสินไถ่สืบมาถึงสี่ชั่ว ผู้อื่นรู้ก็เกรงกลัวไม่ทำได้เหมือนชายผู้นี้" โสด แปลว่า แต่ก่อน ค่าสินไถ่ คือ ประเภทของทาสชนิดหนึ่ง ในกฏหมายตราสามดวง ได้อธิบายไว้ดังนี้ ๑. ทาสสินไถ่ หมายถึง ทาสที่มีผู้นำมาขายให้ ต้องทำงานจนกว่าตนเองหรือผู้อื่นมาไถ่ จึงจะหลุดพ้นจากความเป็นทาส ๒. ทาสในเรือนเบี้ย ได้แก่ลูกทาสที่เกิดจากผู้ที่เป็นทาส ๓. ทาสได้แต่บิดามารดา คือทาสพ่อแม่ยกลูกให้เป็นทาส หรือลูกติดของทาส ๔. ทาสท่านให้ หมายถึงทาสที่ผู้หนึ่งยกให้แก่ผู้อื่นทำองยกทรัพย์สินให้ ๕. ทาสที่ช่วยมาจากทัณฑโทษ ได้แก่พวกที่พ้นโทษมาแล้ว ไม่สามารถประกอบอาชีพได้เนื่องจากขัดสนไม่มีทรัพย์สินอยู่เลย จึงสมัครตัวเป็นทาส ๖.

พญาพาฬมฤคราช อ่านว่า

เป็นเวลาเริ่มต้น ดังนี้ ปฐมยาม - ยามต้น มัชฌิมยาม - ยามกลาง ปัจฉิมยาม – ยามปลาย ๕. "บรรทมเหนือใบไม้ลาดล้วนละอองทราย เทพเจ้าย่อมยักย้ายซึ่งราศี ธาตุทั้งสี่จึงวิปริต ข้อความดังกล่าวเป็นตอนที่พระเวสสันดรทรงทำนายฝันให้พระนางมัทรี ข้อความที่พิมพ์ตัวเข้มแสดงให้เห็นถึงความเชื่อของคนโบราณว่า คนเราทุกคนจะมีเทวดารักษาอยู่คนละ ๑ องค์ ตอนเช้าอยู่ที่หน้า คนเราจึงต้องล้างหน้าในตอนเช้า ตอนเที่ยงอยู่ที่หน้าอกจึงต้องอาบน้ำประพรมน้ำหอม ตอนเย็นอยู่ที่เท้า จึงต้องล้างเท้าก่อนนอน พระเวสสันดรทรงทำนายฝันของพระนางมัทรีว่าเป็นฝันที่เชื่อไม่ได้ เพราะร่างกายไม่สะอา ๖. "สัมโมทนียนัยกถาธรรมสวัสดิ์" คำศัพท์นี้ยาวมาก ถ้าจะแยกความหมายก็จะได้ว่า สัม = พร้อม + โมทนีย = เป็นที่ยินดี + นัย = ความ, ความหมาย, แนวทาง + กถา = ถ้อยคำ, ข้อความ + ธรรม = ดีงาม + สวัสดิ์ = กฏเกณฑ์, ระเบียบ, ข้อบังคับ รวมความแล้วหมายความว่าระเบียบอันดีงามว่าด้วยการกล่าวทักทายด้วยถ้อยคำอันเป็นที่น่ายินดี ๗. "เฒ่าก็พูดหว่านล้อมด้วยคำยอ ยกเอาแม่น้ำทั้งห้าเข้ามาล่อ อุปมาถวายเสียก่อน" ข้อความดังกล่าวเป็นสำนวน ที่ชูชกใช้วิธีการขอสองกุมารจากพระเวสสันดรโดยการอ้างถึงคุณประโยชน์ของแม่น้ำทั้งห้าสายของอินเดียซึ่งไหลมาจากอากาศคงคา เปรียบเทียบกับน้ำพระทัยของพระเวสันดร เป็นการพูดเพื่อให้พระเวสสัดรเกิดความพอพระทัย แล้วจึงทูลขอสองกุมารจากพระเวสสันดร ๘.

ส่วนบนของฟอร์ม ๑. กัณฑ์มัทรีเป็นกัณฑ์ที่เท่าใดในเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก ก. กัณฑ์ที่ ๖ ข. กัณฑ์ที่ ๗ ค. กัณฑ์ที่ ๘ ง. กัณฑ์ที่ ๙ ๒. เพลงประจำกัณฑ์มัทรีคือเพลงอะไร ก. เพลงทยอยโอด ข. เพลงกราวนอก ค. เพลงโอดเชิดฉิ่ง ง. เพลงพญาโศก ๓. ข้อใดกล่าวถึงผู้แต่งเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรไม่ถูกต้อง ก. บรรดาศักดิ์แรกคือหลวงสรวิชิต ข. รับราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ค. บรรดาศักดิ์สูงสุดคือ เจ้าพระยาพระคลัง ง. มีนามจริงว่า หน ๔. ผลงานเรื่องใดของผู้แต่งร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก ที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร ก. อิเหนาคำฉันท์ ข. กากีคำกลอน ค. สามก๊ก ง. สมบัติอมรินทร์คำกลอน ๕. ตัวละครในข้อใดไม่มีชื่อปรากฏในกัณฑ์มัทรี ก. พระกัณหา ข. พระเวสสันดร ค. พญาพาฬมฤคราช ง. พระเจ้ากรุงสญชัย ๖. " เทพเจ้าก็สังเวชในวิญญาณ จึงพากัน อุฏฐาการ ลาไคลให้มรรคา" คำที่ขีดเส้นใต้หมายถึงอะไร ก. หลีกทาง ข. ลุกขึ้น ค. ขยับตัว ง. พยักหน้า ๗. " รัศมีพระจันทร์ก็มัวหมอง เหมือนเศร้าโศกแสนวิโยคเมื่อยาม ปัจจุสมัย " คำที่ขีดเส้นใต้หมายถึงเวลาใด ก. เวลารุ่งเช้า ข. เวลากลางวัน ค. เวลายํ่าคํ่า ง. เวลากลางคืน ๘. "ทั้งพวงแก้วและพวงทองก็โรยร่วงจากกลีบเมฆกระทำสักการบูชา แก่สมเด็จนางพระยามัทรี" คำประพันธ์ที่ยกมานี้ พระนางมัทรีได้รับการสักการะในเรื่องใด ก.

พญาพาฬมฤคราช

ก่อนอื่นต้องขอสวัสดีผู้อ่านค่ะ เนื่องจากหลายวันมานี้ ฉันได้เข้าเรียนวิชาภาษาไทยและได้อ่านวรรณคดีเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีให้เพื่อนๆและครูผู้สอนฟัง และเหตุนี้เองที่ทำให้ฉันหรือเพื่อนๆส่วนใหญ่รู้สึกตัวว่าอ่านศัพท์บางคำไม่ออก และบางคำเราก็สะกดผิดไป ซึ่งเมื่อสืบค้นทางอินเทอร์เน็ตพบว่ามีแต่ความหมายแต่คำอ่านไม่มี ซึ่งวันนี้ฉันจึงไปสืบค้นในพจนานุกรมนักเรียนเกี่ยวกับคำศัพท์บางคำในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ไว้ให้ผู้สนใจศึกษา ๑. แสรกคาน อ่านว่า สะ-แหรก-คาน ซึ่งมีความหมายว่า เครื่องหาบ ๒. พญาพาฬมฤคราช อ่านว่า พะ-ยา-พา-ละ-มะ-รึ-คะ-ราด ซึ่งมีความหมายว่า ราชาแห่งสัตว์ร้าย ๓. อุฏฐาการ อ่านว่า อุด-ถา-การ ซึ่งมีความหมายว่า ลุกขึ้น ๔. สรวล อ่านว่า สรวน ซึ่งมีความหมายว่า หัวเราะ ๕. กเลวระ อ่านว่า กะ-เล-วะ-ระ ซึ่งมีความหมายว่า ซากศพ ๖. พระราชสมภาร อ่านว่า พะ-ราด-ชะ-สม-พาน ซึ่งมีความหมายว่า พระราชาที่ออกบวช ๗. เบญจางคจริต อ่านว่า เบน-จาง-คะ-จะ-ริด ซึ่งมีความหมายว่า มีลักษณะงาม5ประการ ๘. เทวษ อ่านว่า ทะ-เวด ซึ่งมีความหมายว่า คร่ำครวญ ๙. หิมเวศ อ่านว่า หิม-มะ-เวด ซึ่งมีความหมายว่า ป่าหิมพานต์ ๑๐.

December 4, 2022

ยาง ย อย Coupling, 2024